สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
1. ด้านกายภาพ
1.1สภาพทางภูมิศาสตร์
ลักษณะภูมิประเทศของ เทศบาลตำบลงิ้วงาม เป็นพื้นที่ราบ และลูกคลื่นลอนตื้น ลอนลึก และเป็นที่ราบสูง แต่ปัจจุบันได้กลายเป็นสภาพพื้นที่ราบมากกว่า 80% ของพื้นที่เนื่องจากเกษตรกรได้แปลงเป็นพื้นที่ทางการเกษตร เช่น ทำนา ทำไร่ ทำสวน ลักษณะภูมิประเทศของตำบลงิ้วงามสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ
1. ลักษณะพื้นที่ราบน้ำท่วมไม่ถึง ซึ่งเป็นพื้นที่ประมาณ 80% และใช้ประโยชน์ในการทำนาปลูกพืชไร่และเกษตรกรรมอื่น ๆ
2. ลักษณะพื้นที่ราบริมฝั่งแม่น้ำ จะอยู่ทางทิศตะวันตกของแม่น้ำน่านที่ไหลผ่านส่วนใหญ่ทำใช้ประโยชน์ในการเกษตร พืชผัก ข้าวโพดและสวนผลไม้
3. ลักษณะพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดหรือพื้นที่เนินเขา พื้นที่ลักษณะนี้จะอยู่ทางทิศตะวันตกของตำบล มีการใช้ประโยชน์ในการปลูกพืชไร่
1.2. การใช้ที่ดิน
รายละเอียดข้อมูลด้านการเกษตร
ชนิด |
จำนวนเกษตรกร(ราย) |
พื้นที่เพาะปลูก(ไร่) |
ผลผลิต(ตัน) |
หมายเหตุ |
ข้าวนาปี |
566 |
7,252.30 |
800 |
|
ข้าวนาปรัง |
525 |
4,906.10 |
850 |
|
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ |
162 |
1,977 |
1,000 |
|
ถั่วลิสง |
33 |
150 |
300 |
|
ตำบลงิ้วงาม มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 59 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 36,875 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ดังต่อไปนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลขุนฝาง
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลคุ้งตะเภา
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลผาจุก
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลท่าเสา และตำบลน้ำริด
แผนที่เขตการปกครองของเทศบาลตำบลงิ้วงาม
2. ด้านการเมือง/การปกครอง
จำนวนบุคลากรฝ่ายการเมือง จำนวน 18 คน แยกเป็น
ฝ่ายบริหาร จำนวน 5 คน ได้แก่
- นายกเทศมนตรีตำบลงิ้วงาม ร้อยตรีทรวง นาพันธุ์
- รองนายกเทศมนตรีตำบลงิ้วงาม นายสุรัตน์ ปาด้วง
- รองนายกเทศมนตรีตำบลงิ้วงาม นายประจวบ ดีบุญ
- เลขานุการนายกเทศมนตรีตำบลงิ้วงาม นางวารีรัตน์ แข็งธัญญาการ
- ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี ตำบลงิ้วงาม นายประสิทธิ์ โพธิสุข
. ฝ่ายนิติบัญญัติ จำนวน 13 คน ได้แก่
- ประธานสภาเทศบาลตำบลงิ้วงาม นายสมเกียรติ เณรแก้ว ส.ท. เขต 2
- รองประธานสภาเทศบาลตำบลงิ้วงาม นางสาวพิมลพัชร บัวเชื้อ ส.ท. เขต 2
- เลขานุการสภาเทศบาลตำบลงิ้วงาม พันจ่าเอกสุพจน์ แสงทอง ปลัด ทต.งิ้วงาม
- สมาชิกสภาเทศบาลตำบล เขต 1
นายสุชล ใสสีสูบ ส.ท. เขต 1
นายประทวน พรมเพ็ชร ส.ท. เขต 1
นายนายบำรุง ศรีจันทร์ ส.ท. เขต 1
นางจิรภัทร์ พุฒมาลา ส.ท. เขต 1
นายเจริญ ปาด้วง ส.ท. เขต 1
นายมานัส จันทร์คำ ส.ท. เขต 1
- สมาชิกสภาเทศบาลตำบล เขต 2
นายสุดใจ อินทร์ศิริ ส.ท. เขต 2
นายสมศักดิ์ โมราลักษณ์ ส.ท. เขต 2
ร.ต.สันติ ฟ้ากระจ่าง ส.ท. เขต 2
นายพรพิษณุ วงศ์ษา ส.ท. เขต 2
การปกครอง ตำบลงิ้วงาม แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 16 หมู่บ้าน แยกเป็น
หมู่ที่ 1 บ้านวังสีสูบ ปกครองโดย นางสาวโสภิตา วงษ์รีย์
หมู่ที่ 2 บ้านวังสีสูบ ปกครองโดย นายสมศักดิ์ ครอบครอง
หมู่ที่ 3 บ้านไร่กล้วย ปกครองโดย นางวันเพ็ญ ใสสีสูบ
หมู่ที่ 4 บ้านงิ้วงาม ปกครองโดย นายเอกกมล มาอินทร์
หมู่ที่ 5 บ้านงิ้วงาม ปกครองโดย นางณิชาพัฒน์ มณีนุท
หมู่ที่ 6 บ้านวังขอน ปกครองโดย นายเกียรติชัย ศรีสกุล
หมู่ที่ 7 บ้านวังขอน ปกครองโดย นายชัชดล สีสกุล
หมู่ที่ 8 บ้านปากฝาง ปกครองโดย นายน้ำทิพย์ บุญสมัคร
หมู่ที่ 9 บ้านปากฝาง ปกครองโดย นางสาววิไลวรรร เกตุมิตร
หมู่ที่ 10 บ้านปากฝาง ปกครองโดย นายสำเริง แก้วแก้ว
หมู่ที่ 11 บ้านน้ำไผ่ ปกครองโดย นายพีระดนย์ พรวนพรม
หมู่ที่ 12 บ้านปากฝาง ปกครองโดย นายประณต แดงจีน
หมู่ที่ 13 บ้านไร่กล้วยเหนือ ปกครองโดย นายชัชชาย รู้หลัก
หมู่ที่ 14 บ้านปากฝาง (กำนัน) ปกครองโดย นายวิเชษฐ์ อภิลักษณ์นัย
หมู่ที่ 15 บ้านงิ้วงาม ปกครองโดย นายชัชชัย บุยคำสว่าง
หมู่ที่ 16 บ้านวังสีสูบ ปกครองโดย นายลำดวน วงษ์หล้า
มีประชากรทั้งสิ้น 9,113 คน 3,888 ครัวเรือน แยกเป็นประชากรชาย 4,331 คน ประชากรหญิง 4,782 คน ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และศาสนาคริสต์
3.ประชากร
หมู่ |
หมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
จำนวนหลังคาเรือน |
||
ชาย |
หญิง |
รวมทั้งสิ้น |
|||
1 |
บ้านวังสีสูบ |
748 |
873 |
1621 |
975 |
2 |
บ้านวังสีสูบ |
271 |
294 |
565 |
269 |
3 |
บ้านไร่กล้วย |
286 |
246 |
532 |
240 |
4 |
บ้านงิ้วงาม |
294 |
322 |
616 |
233 |
5 |
บ้านงิ้วงาม |
145 |
158 |
303 |
116 |
6 |
บ้านวังขอน |
400 |
472 |
872 |
341 |
7 |
บ้านวังขอน |
308 |
312 |
620 |
243 |
8 |
บ้านปากฝาง |
285 |
314 |
599 |
251 |
9 |
บ้านปากฝาง |
172 |
220 |
392 |
146 |
10 |
บ้านปากฝาง |
89 |
98 |
187 |
102 |
11 |
บ้านน้ำไผ่ |
255 |
250 |
505 |
176 |
12 |
บ้านปากฝาง |
218 |
265 |
483 |
185 |
13 |
บ้านไร่กล้วยเหนือ |
226 |
244 |
470 |
167 |
14 |
บ้านปากฝาง |
171 |
173 |
344 |
97 |
15 |
บ้านงิ้วงาม |
276 |
286 |
562 |
169 |
16 |
บ้านวังสีสูบ |
234 |
265 |
499 |
178 |
รวม |
4,378 |
4,685 |
9,052 |
3,888 |
ข้อมูล : จากสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง การตรวจสอบบ้านจากทะเบียนบ้าน
ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ณ เดือน กันยายน พ.ศ. 2564
4. สภาพทางสังคม
โรงเรียนประถมศึกษาในเขตตำบลงิ้วงาม
ลำดับที่ |
ชื่อโรงเรียน |
จำนวนนักเรียน ( คน ) |
รวม |
|||||||||
ก่อนประถม |
ป.1 |
ป.2 |
ป.3 |
ป.4 |
ป.5 |
ป.6 |
ม.1 |
ม.2 |
ม.3 |
|||
1 |
โรงเรียนบ้านงิ้วงาม |
18 |
12 |
9 |
27 |
5 |
18 |
14 |
|
|
|
|
2 |
โรงเรียนมิตรภาพที่ 39 |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
|
|
|
|
3 |
โรงเรียนวัดศรีธาราม |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
|
|
|
|
4 |
โรงเรียนบ้านน้ำไผ่ |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
|
|
|
|
5 |
โรงเรียนชุมชนเมืองปากฝาง |
32 |
22 |
12 |
27 |
25 |
32 |
26 |
|
|
|
|
รวม |
50 |
34 |
21 |
54 |
20 |
40 |
40 |
|
|
|
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตตำบลงิ้วงาม
ลำดับที่ |
ชื่อศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
จำนวนนักเรียน ( คน ) |
หมายเหตุ |
|
ชาย |
หญิง |
|||
1 |
โรงเรียนบ้านงิ้วงาม |
10 |
14 |
|
2 |
โรงเรียนชุมชนเมืองปากฝาง |
13 |
13 |
|
รวม |
23 |
27 |
|
5. ระบบบริการพื้นฐาน
ในเขตเทศบาลมีระบบบริการพื้นฐาน ดังนี้
๕.1 การไฟฟ้า
การขยายเขตไฟฟ้า ปัจจุบันมีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือน คิดเป็น ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ปัญหาคือไฟฟ้าส่องสว่างทางหรือที่สาธารณะยังไม่สามารถดำเนินการครอบคลุมพื้นที่ได้ทั้งหมด เนื่องจากพื้นที่ที่มีความต้องการให้ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างนั้นยังไม่เป็นที่สาธารณะ เทศบาลจึงไม่สามารถดำเนินการได้เช่นเดียวกับถนน การแก้ปัญหาคือ ประสานความร่วมมือกันในหลายๆ ฝ่าย เพื่อที่จะทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่
และวิธีการที่จะดำเนินการแก้ไขอย่างไร ทั้งนี้ เทศบาลก็ได้ตั้งงบประมาณในส่วนนี้ไว้แล้ว และได้แจ้งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบถึงเหตุผลเพื่อที่จะได้ช่วยกันแก้ไขปัญหาให้กับชุมชน ปัจจุบันในเขตเทศบาลมีไฟฟ้าใช้ ดังนี้
(๑) จำนวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้า ๙๖๓ หลังคาเรือน
(๒) ไฟฟ้าสาธารณะ จำนวน ๗๕ จุด
๕.2 การประปา
การประปา เทศบาลมีกิจการประปาเป็นของเทศบาลเอง สามารถให้บริการได้ครอบคลุมทุกหลังคาเรือน คิดเป็น ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ และมีน้ำใช้ตลอดทั้งปี ปัญหาคือ มีข้อร้องเรียนเรื่องน้ำประปาขุ่นบ่อยครั้ง สาเหตุเนื่องจากเป็นท่อประปาเก่าเกิดการตกตะกอนของน้ำ และไม่มีแหล่งน้ำดิบในการผลิตประปาต้องขอใช้จากพื้นที่อื่นทำให้มีค่าใช้จ่ายมาก ประปาของเทศบาลยังไม่สามารถที่จะผลิตเป็นน้ำประปาสำหรับบริโภคได้ ต้องใช้งบประมาณสูงมากในการดำเนินการ ปัจจุบันเทศบาลยังไม่ประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำสามารถที่จะจัดหาน้ำดิบสำหรับผลิตประปาให้ชุมชนได้ การแก้ปัญหาคือ การลงพื้นที่ดำเนินการแก้ไขตามจุดที่เกิดปัญหาในทันที การพิจารณาโครงการต่างๆ ที่ไม่สามารถดำเนินการได้นั้น เช่น โครงการก่อสร้างโรงสูบจ่ายสารเคมีและเก็บสารเคมีการประปา ฯลฯ เทศบาลก็ได้นำบรรจุในแผนพัฒนาสามปีเพื่อที่จะพิจารณาดำเนินการในปีต่อไป เมื่อมีงบประมาณและความจำเป็นก็สามารถดำเนินโครงการได้ต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนต่อไป ปัจจุบันประชาชนมีประปาใช้ ดังนี้
(๑) จำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ำประปา ๑,๐๗๕ หลังคาเรือน
(๒) กิจการประปา ของหมู่บ้าน 6 แห่ง
(๓) ปริมาณการใช้น้ำประปาเฉลี่ย ๕๐๐ – ๕๕๐ ลบ.ม. ต่อวัน
(๔) แหล่งน้ำดิบที่ใช้ผลิตน้ำประปาได้จาก
แม่น้ำน่าน ( / )
แหล่งน้ำใต้ดิน ( - )
๕.3 โทรศัพท์
(๑) จำนวนโทรศัพท์สาธารณะในเขตพื้นที่ จำนวน - หมายเลข
(๒) จำนวนโทรศัพท์ส่วนบุคคล จำนวน 8,540 หมายเลข
(3) หอกระจายข่าวในพื้นที่ให้บริการได้ครอบคลุมทุกหมู่บ้านในพื้นที่เทศบาล
๕.4 ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง และวัสดุ ครุภัณฑ์
-ไม่มีที่ทำการไปรษณีย์ในพื้นที่
-บริการขนส่งเอกชน 1 แห่ง หมู่ที่1 บ้านสีสูบ ตำบลงิ้วงาม
5.5 การสาธารณสุข
- เทศบาลตำบลงิ้วงาม มีสถานีอนามัยประจำตำบล/หมู่บ้าน ที่สังกัดกระทรวง สาธารณสุข 2 แห่ง ได้แก่
1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี งิ้วงาม
2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังสีสูบ
๕.๖ เส้นทางคมนาคม
ในเขตเทศบาลมีเส้นทางคมนาคมในพื้นที่เทศบาลที่เป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ร้อยละ ๗๐ เป้าหมายคือต้องการให้ได้มากกว่านี้หรือร้อยละ ๑๐๐ โดยผู้บริหารมีนโยบายที่จะดำเนินการก่อสร้างถนน
คอนกรีตเสริมเหล็กทุกสาย ปัญหาคือ เทศบาลไม่สามารถดำเนินการได้เนื่องจากพื้นที่ยังไม่เป็นที่สาธารณะ จะดำเนินการได้ก็ต่อเมื่อต้องเป็นที่สาธารณะ ปัจจุบันเทศบาลมีเส้นทางคมนาคม ดังนี้
(๑) การคมนาคม การจราจร
เส้นทางคมนาคมที่ใช้ติดต่อในเขตเทศบาลและพื้นที่ใกล้เคียงมีดังนี้
๑.๑) ทางหลวงแผ่นดิน
-
-
๑.๒) สะพาน จำนวน สะพาน
๑.๓) การจัดการขนส่งมวลชน ประกอบด้วย
-ไม่มี สถานีขนส่งในพื้นที่
๑.๔) ถนน
๖. ระบบเศรษฐกิจ
๖.๑ การเกษตร
ประชากรในเขตเทศบาล ร้อยละ ๗๐ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว มันสำปะหลัง อ้อย ดังนี้
- อาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ ๗๐ ของจำนวนประชากรทั้งหมด
- อาชีพเลี้ยงสัตว์ ร้อยละ ๑๓ ของจำนวนประชากรทั้งหมด
- อาชีพรับจ้าง ร้อยละ ๘ ของจำนวนประชากรทั้งหมด
- อาชีพค้าขาย ร้อยละ ๙ ของจำนวนประชากรทั้งหมด
๖.๒ การประมง
(ในเขตเทศบาลไม่มีการประมง)
๖.๓ การปศุศัตว์
- เป็นการประกอบการในลักษณะเลี้ยงในครัวเรือนเป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริม เช่น การเลี้ยงไก่ เป็ด โค สุกร กระบือ จำนวนสัตว์ในพื้นที่โดยประมาณ ดังนี้
โค ๔๕๕ ตัว กระบือ ๑๒๕ ตัว สุกร 2,500 ตัว
เป็ด 1๒๑ ตัว ไก่ ๑๑๕ ตัว อื่นๆ ๘๑๕ ตัว
6.4 การประกอบอาชีพ
- ราษฎรประกอบอาชีพการเกษตร ประมาณ 11.94 %
- ข้าราชการ/เจ้าหน้าที่ของรัฐ ประมาณ 7.05 %
- พนักงานรัฐวิสาหกกิจ/พนักงานบริษัท ประมาณ 1.33 %
- รับจ้างทั่วไป ประมาณ 34.68 %
- ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว ประมาณ 10.52 %
- ไม่มีงานทำและกำลังเรียน เด็ก และผู้สูงอายุ ประมาณ 32.35 %
- อื่น ๆ ประมาณ 2.13 %
การรวมกลุ่มของประชาชน จำนวนกลุ่มทุกประเภท 45 กลุ่ม
- กลุ่มอาชีพ 29 กลุ่ม (ฐานข้อมูลเศรษฐกิจชุมชน)
- กลุ่มออมทรัพย์ 16 กลุ่ม (ฐานข้อมูลกองทุนหมู่บ้าน)
6.5 สภาพทางเศรษฐกิจ
* ปั๊มน้ำมัน 5 แห่ง
- หจก.พระแท่นการปิโตเลียม ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 บ้านวังขอน
- หจก PP ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 บ้านวังสีสูบ
- หจก.บรมอาสน์ค้าไม้ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 บ้านวังสีสูบ
- องค์การค้า สกสค. ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 บ้านวังสีสูบ
- บริษัท เวียงออยส์ จำกัด ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 บ้านวังสีสูบ
* ปั้มก๊าซ 2 แห่ง
- บริษัท วีแคร์อุตรดิตถ์ จำกัด (LPG) ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 บ้านวังสีสูบ
- บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) (NGV) ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 บ้านวังสีสูบ
* โรงสี 8 แห่ง (ข้อมูลการจัดเก็บภาษีประจำปี)
* ร้านค้าปลีก 69 แห่ง (ข้อมูลการจัดเก็บภาษีประจำปี)
* ร้านอาหาร 32 แห่ง (ข้อมูลการจัดเก็บภาษีประจำปี)
* โรงงานอุตสาหกรรม 2 แห่ง
- บริษัท ส.อรุณคอนกรีต จำกัด ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 บ้านวังสีสูบ
- บริษัท หล่อวัฒนา จำกัด ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 บ้านงิ้วงาม
7. เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ)
7.1 ข้อมูลพื้นฐานของตำบล
ประวัติความเป็นมา
เทศบาลงิ้วงาม ได้รับการยกฐานะจากองค์การบริหารส่วนตำบล เป็นเทศบาลตำบล ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2555 มีฐานะเป็นนิติบุคคล ปัจจุบันมีที่ทำการตั้งอยู่ ณ บ้านงิ้วงาม เลขที่ 214 หมู่ที่ 4 ตำบลงิ้วงาม อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์
เมื่อประมาณ 400 ปี ที่ผ่านมาหรือในสมัยอยุธยาเมื่อพม่ายกทัพมาตีเมืองพิษณุโลก แต่ไม่สำเร็จจึงขึ้นมาตีเมืองพิชัยแต่ก็พ่ายแพ้แก่พระยาพิชัยจึงเลื่อนทัพมาตีเมืองพระฝาง และยึดเมืองพระฝางได้สำเร็จและมาตั้งบ้านงิ้วงาม เป็นเมืองหน้าด่าน ซึ่งในบริเวณนั้นคือวัดงิ้วงามล่างในปัจจุบันในระหว่างที่กองทัพพม่ามาตั้งทัพอยู่ที่บ้านงิ้วงาม (ในปัจจุบัน) นายทัพของพม่าได้นำลูกสาวมาด้วย พวกทหารพม่าเหล่านั้นเรียกว่า “เงี้ยว” (ซึ่งเป็นชนเผ่าหนึ่งในพม่า) ชาวบ้านจึงพากันเรียกหมู่บ้านแห่งนี้ว่า “เงี้ยวงาม” เมื่อเรียกกันมานาน ๆ เข้าก็เรียกเพี้ยนเป็น “งิ้วงาม” ในปัจจุบัน ในหมู่บ้านนี้นอกจากชนชาติพม่าแล้วยังมีชนชาติเวียงจันทร์ซึ่งมีหลักฐานอีกว่าตั้งถิ่นฐานอยู่ในบ้านปากฝางปัจจุบัน ส่วนลาวเวียงจันทร์ ก็ตั้งถิ่นฐานอยู่ในหมู่บ้านงิ้วงามปัจจุบัน เช่นเดียวกัน
มีที่ตั้งอยู่ห่างจากอำเภอเมืองอุตรดิตถ์ ถึง ตำบลงิ้วงาม มีระยะทาง 9 กิโลเมตร และ มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 59 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 36,875 ไร่
๗.๒ ข้อมูลด้านการเกษตร
(๑) บ้านวังสีสูบ หมู่ที่ ๑
มีพื้นที่ทั้งหมด 5,000 ไร่ ทำการเกษตรดังนี้
ประเภทของการทำการเกษตร |
จำนวน |
ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) |
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
ราคาขายโดยเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
|
2.1) ทำนา |
¨ในเขตชลประทาน |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
þนอกเขตชลประทาน |
40 ครัวเรือน 3,000 ไร่ |
800 กก./ไร่ |
4,500 บาท/ไร่ |
6,200 บาท/ไร่ |
|
2.2) ทำสวน |
สวน ผัก . |
36 ครัวเรือน 30 ไร่ |
2,000 กก./ไร่ |
6,000 บาท/ไร่ |
12,000 บาท/ไร่ |
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
- บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.3) ทำไร่ |
¨ ไร่มันสำปะหลัง |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
¨ ไร่ข้าวโพด |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
¨ ไร่ถั่วลิสง |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.4) อื่นๆ |
¨ อื่นๆ โปรดระบุ . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
(๒) บ้านวังสีสูบ หมู่ที่ 2
มีพื้นที่ทั้งหมด 945 ทำการเกษตร ดังนี้
ประเภทของการทำการเกษตร |
จำนวน |
ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) |
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
ราคาขายโดยเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
|
2.1) ทำนา |
¨ ในเขตชลประทาน |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
þนอกเขตชลประทาน |
96 ครัวเรือน ไร่ |
800 กก./ไร่ |
4,500 บาท/ไร่ |
6,000 บาท/ไร่ |
|
2.2) ทำสวน |
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
- บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.3) ทำไร่ |
¨ ไร่อ้อย |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
þ ไร่ข้าวโพด |
40 ครัวเรือน 100 ไร่ |
1,000 กก./ไร่ |
2,500 บาท/ไร่ |
4,000 บาท/ไร่ |
|
¨ ไร่มันสำปะหลัง |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ ถั่วลิสง . |
2 ครัวเรือน 30 ไร่ |
900 กก./ไร่ |
4,000 บาท/ไร่ |
1,800 บาท/ไร่ |
|
2.4) อื่นๆ |
¨ อื่นๆ โปรดระบุ . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
(๓) บ้านไร่กล้วย หมู่ที่ 3
มีพื้นที่ทั้งหมด 1,000 ไร่ ทำการเกษตร ดังนี้
ประเภทของการทำการเกษตร |
จำนวน |
ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) |
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
ราคาขายโดยเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
|
2.1) ทำนา |
þ ในเขตชลประทาน |
49 ครัวเรือน 400 ไร่ |
850 กก./ไร่ |
4,500 บาท/ไร่ |
5,800 บาท/ไร่ |
¨นอกเขตชลประทาน |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.2) ทำสวน |
สวน ผัก . |
18 ครัวเรือน 2 ไร่ |
1,500 กก./ไร่ |
2,500 บาท/ไร่ |
6,000 บาท/ไร่ |
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.3) ทำไร่ |
¨ ไร่อ้อย |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
þ ไร่ข้าวโพด |
10 ครัวเรือน 80 ไร่ |
1,000 กก./ไร่ |
2,500 บาท/ไร่ |
4,000 บาท/ไร่ |
|
¨ ไร่มันสำปะหลัง |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.4) อื่นๆ |
¨ อื่นๆ โปรดระบุ .................... |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
(๔) บ้านงิ้วงาม หมู่ที่ 4
มีพื้นที่ทั้งหมด 400 ไร่ ทำการเกษตร ดังนี้
ประเภทของการทำการเกษตร |
จำนวน |
ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) |
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
ราคาขายโดยเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
|
2.1) ทำนา |
¨ ในเขตชลประทาน |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
þ นอกเขตชลประทาน |
50 ครัวเรือน 80 ไร่ |
800 กก./ไร่ |
4,500 บาท/ไร่ |
5,900 บาท/ไร่ |
|
2.2) ทำสวน |
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.3) ทำไร่ |
¨ ไร่อ้อย |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
¨ ไร่ข้าวโพด |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
¨ ไร่มันสำปะหลัง |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.4) อื่นๆ |
¨ อื่นๆ โปรดระบุ . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
(๕) บ้านงิ้วงาม หมู่ที่ 5
มีพื้นที่ทั้งหมด 1,600 ไร่ ทำการเกษตร ดังนี้
ประเภทของการทำการเกษตร |
จำนวน |
ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) |
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
ราคาขายโดยเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
|
2.1) ทำนา |
þ ในเขตชลประทาน |
12 ครัวเรือน 350 ไร่ |
850 กก./ไร่ |
4,500 บาท/ไร่ |
5,800 บาท/ไร่ |
¨นอกเขตชลประทาน |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.2) ทำสวน |
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.3) ทำไร่ |
¨ ไร่อ้อย |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
þ ไร่ข้าวโพด |
9 ครัวเรือน 200 ไร่ |
1,000 กก./ไร่ |
2,500 บาท/ไร่ |
4,000 บาท/ไร่ |
|
¨ ไร่มัน |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ ถั่วลิสง . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.4) อื่นๆ |
¨ อื่นๆ โปรดระบุ . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
(๖) บ้านวังขอน หมู่ที่ 6
มีพื้นที่ทั้งหมด 2,689 ไร่ ทำการเกษตร ดังนี้
ประเภทของการทำการเกษตร |
จำนวน |
ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) |
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
ราคาขายโดยเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
|
2.1) ทำนา |
þ ในเขตชลประทาน |
30 ครัวเรือน 1,000 ไร่ |
800 กก./ไร่ |
4,500 บาท/ไร่ |
6,000 บาท/ไร่ |
¨นอกเขตชลประทาน |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.2) ทำสวน |
สวน ผลไม้ . |
30 ครัวเรือน 257 ไร่ |
900 กก./ไร่ |
8,000 บาท/ไร่ |
18,000 บาท/ไร่ |
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.3) ทำไร่ |
¨ ไร่อ้อย |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
¨ ไร่ข้าวโพด |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
¨ ไร่มันสำปะหลัง |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ ถั่วลิสง . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.4) อื่นๆ |
¨ อื่นๆ โปรดระบุ . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
(7) บ้านวังขอน หมู่ที่ 7
มีพื้นที่ทั้งหมด 717 ไร่ ทำการเกษตร ดังนี้
ประเภทของการทำการเกษตร |
จำนวน |
ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) |
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
ราคาขายโดยเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
|
2.1) ทำนา |
¨ ในเขตชลประทาน |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
þนอกเขตชลประทาน |
33 ครัวเรือน 500 ไร่ |
800 กก./ไร่ |
4,500 บาท/ไร่ |
6,000 บาท/ไร่ |
|
2.2) ทำสวน |
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.3) ทำไร่ |
¨ ไร่อ้อย |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
þ ไร่ข้าวโพด |
5 ครัวเรือน 70 ไร่ |
1,000 กก./ไร่ |
2,500 บาท/ไร่ |
4,000 บาท/ไร่ |
|
¨ ไร่มันสำปะหลัง |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.4) อื่นๆ |
¨ อื่นๆ โปรดระบุ . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
(8) บ้านปากฝาง หมู่ที่ 8
มีพื้นที่ทั้งหมด 756 ไร่ ทำการเกษตร ดังนี้
ประเภทของการทำการเกษตร |
จำนวน |
ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) |
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
ราคาขายโดยเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
|
2.1) ทำนา |
¨ ในเขตชลประทาน |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
þนอกเขตชลประทาน |
20 ครัวเรือน 455 ไร่ |
800 กก./ไร่ |
4,500 บาท/ไร่ |
6,000 บาท/ไร่ |
|
2.2) ทำสวน |
สวน ผัก . |
8 ครัวเรือน 5 ไร่ |
600 กก./ไร่ |
2,500 บาท/ไร่ |
4,800 บาท/ไร่ |
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.3) ทำไร่ |
¨ ไร่อ้อย |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
þ ไร่ข้าวโพด |
2 ครัวเรือน 50 ไร่ |
1,000 กก./ไร่ |
2,500 บาท/ไร่ |
4,000 บาท/ไร่ |
|
¨ ไร่มัน |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ ถั่วลิสง . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.4) อื่นๆ |
¨ อื่นๆ โปรดระบุ . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
(9) บ้านปากฝาง หมู่ที่ 9
มีพื้นที่ทั้งหมด 600 ไร่ ทำการเกษตร ดังนี้
ประเภทของการทำการเกษตร |
จำนวน |
ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) |
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
ราคาขายโดยเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
|
2.1) ทำนา |
¨ ในเขตชลประทาน |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
þนอกเขตชลประทาน |
15 ครัวเรือน 150 ไร่ |
800 กก./ไร่ |
4,500 บาท/ไร่ |
6,000 บาท/ไร่ |
|
2.2) ทำสวน |
สวน ผัก . |
13 ครัวเรือน 10 ไร่ |
1,000 กก./ไร่ |
2,500 บาท/ไร่ |
10,000 บาท/ไร่ |
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
- กก./ไร่ |
.............-บาท/ไร่ |
- บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
- กก./ไร่ |
.............-บาท/ไร่ |
- บาท/ไร่ |
|
2.3) ทำไร่ |
¨ ไร่อ้อย |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
¨ ไร่ข้าวโพด |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
¨ ไร่ข้าวโพด |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.4) อื่นๆ |
¨ อื่นๆ โปรดระบุ . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
(10) บ้านปากฝาง หมู่ที่ 10
มีพื้นที่ทั้งหมด 1,000 ไร่ ทำการเกษตร ดังนี้
ประเภทของการทำการเกษตร |
จำนวน |
ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) |
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
ราคาขายโดยเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
|
2.1) ทำนา |
¨ ในเขตชลประทาน |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
þนอกเขตชลประทาน |
18 ครัวเรือน 800 ไร่ |
850 กก./ไร่ |
..4,500.-บาท/ไร่ |
6,000 บาท/ไร่ |
|
2.2) ทำสวน |
สวน ยางพารา . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
สวน หน่อไม้ . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.3) ทำไร่ |
¨ ไร่อ้อย |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
¨ ไร่ข้าวโพด |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
¨ ไร่ข้าวโพด |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.4) อื่นๆ |
¨ อื่นๆ โปรดระบุ . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
(11) บ้านน้ำไผ่ หมู่ที่ 11
มีพื้นที่ทั้งหมด 2,500 ไร่ ทำการเกษตร ดังนี้
ประเภทของการทำการเกษตร |
จำนวน |
ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) |
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
ราคาขายโดยเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
|
2.1) ทำนา |
¨ ในเขตชลประทาน |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
þนอกเขตชลประทาน |
18 ครัวเรือน 360 ไร่ |
800 กก./ไร่ |
4,500 บาท/ไร่ |
5,900 บาท/ไร่ |
|
2.2) ทำสวน |
สวน ผลไม้ . |
20 ครัวเรือน 170 ไร่ |
1,300 กก./ไร่ |
6,000 บาท/ไร่ |
12,000 บาท/ไร่ |
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.3) ทำไร่ |
¨ ไร่อ้อย |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
þ ไร่ข้าวโพด |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
¨ ไร่ข้าวโพด |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ ถั่วลิสง . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.4) อื่นๆ |
¨ อื่นๆ โปรดระบุ . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
(12) บ้านปากฝาง หมู่ที่ 12
มีพื้นที่ทั้งหมด 625 ไร่ ทำการเกษตร ดังนี้
ประเภทของการทำการเกษตร |
จำนวน |
ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) |
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
ราคาขายโดยเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
|
2.1) ทำนา |
¨ ในเขตชลประทาน |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
þนอกเขตชลประทาน |
23 ครัวเรือน 25 ไร่ |
800 กก./ไร่ |
4,500 บาท/ไร่ |
6,000 บาท/ไร่ |
|
2.2) ทำสวน |
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.3) ทำไร่ |
¨ ไร่อ้อย |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
¨ ไร่ข้าวโพด |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
¨ ไร่ข้าวโพด |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
|
2.4) อื่นๆ |
¨ อื่นๆ โปรดระบุ . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
(13) บ้านไร่กล้วยเหนือ หมู่ที่ 13
มีพื้นที่ทั้งหมด 650 ไร่ ทำการเกษตร ดังนี้
ประเภทของการทำการเกษตร |
จำนวน |
ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) |
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
ราคาขายโดยเฉลี่ย (บาท/ไร่) |
|
2.1) ทำนา |
¨ ในเขตชลประทาน |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |
บาท/ไร่ |
บาท/ไร่ |
þนอกเขตชลประทาน |
45 ครัวเรือน 200 ไร่ |
800 กก./ไร่ |
4,500 บาท/ไร่ |
6,000 บาท/ไร่ |
|
2.2) ทำสวน |
สวน . |
ครัวเรือน ไร่ |
กก./ไร่ |